เมนู

ธรรมบทปริทัศน์ ภาค 5-8


พระมหาชนะ ธมฺมธโช ป.ธ. 9
ภาค 5
1. กริยาปธานนัย มี 4 ตัว (หรือ 6 ตัว) ดังนี้ วฑฺเฒตฺวา (กุกฺกุฏ : 5/27),
อาทาย (ตโยชน : 5/39), อาคนฺตฺวา, ... [สา เทวตา] (โกณฺฑธาน : 5/48 * ถ้าไม่มีเนื้อ
ความในวงเล็บ ไม่จัดเป็นกิริยาปธานนัย), วตฺวา (โกณฺฑธาน : 5/50), เปเสตฺวา (อุโบสถ :
5/54), จินฺเตตฺวา [อถ นํ] (สุขสามเณร : 5/82 * ถ้าไม่มีเนื้อความในวงเล็บ ไม่จัดเป็น
กิริยาปธานนัย)
2. ชิตํ เม (จูเฬกสาฏก : 5/2) เป็นภาววาจก ยกเว้นประโยค กึ กิร เตน ชิตํ
(หน้าเดียวกัน) เป็นกัมมวาจก นักศึกษาพึงดูเปรียบเทียบ พหูหิ ชิโต (สามาวตี : 2/18)
อ. เรา เป็นผู้อันเด็ก ท. มากชนะแล้ว ย่อมเป็น
3. วิกติกัมมและสัมภาวนะ มีกฎว่า
3.1 ในประโยคกัตตุวาจกและเหตุกัตตุวาจก จะประกอบเป็นทุติยาวิภัตติ
เช่น (อหํ) ติกฺขตฺตุํ สรณํ คโต (โพธิราช : 6/3) อ. เรา เป็นผู้ถึงแล้ว
(ซึ่งพระพุทธเจ้า) ว่าเป็นที่พึ่ง สิ้นสามครั้ง ย่อมเป็น
3.2 ในประโยคกัมมวาจกและเหตุกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ
เช่น ปาณาติปาตกมฺมสฺส โว ภนฺเต อการโก กโต (กุกฺกุฏ : 5/25
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. นายพรานชื่อว่ากุกกุฏมิต อันพระองค์ กระ
ทำแล้ว ให้เป็นผู้ไม่กระทำ ซึ่งกรรมคือปาณาติบาต หรือ ? และใน
ประโยคว่า อฏฺฐีนํ นครํ กตํ มํสโลหิตเลปนํ (คาถารูปนนฺทา : 5/
106) อ. สรีระนี้ (อิทํ สรีรํ) อันกรรม (กมฺเมน) กระทำแล้ว ให้เป็น
พระนคร
แห่งกระดูก ท. อันฉาบทาด้วยเนื้อและเลือด
4. ประโยคความรัก (สัมพันธ์เรียกว่า สรูป โดยการจำแนก)
ปุพฺเพว สนฺนิวาเสน ปจฺจุปฺปนฺนหิเตน วา
เอวนฺตํ ชายเต เปมํ อุปฺปลํ ว ยโถทเกติ

(กุกฺกุฏ : 5/28)

อ. ความรัก นั้น เมื่อเกิด (ชายมานํ) ย่อมเกิด ด้วยเหตุ ท. 2 (ทฺวีหิ การเณหิ)
คือ ด้วยการอยู่ร่วมกันในกาลก่อนหรือ หรือว่าคือด้วยการเกื้อกูลกันในปัจจุบัน
อ. อุบลหรือ (อุปปลํ วา) หรือว่า อ. เสสชาตที่เหลือมีดอกปทุมเป็นต้น (ปทุมาทิเสสชาตํ
วา) อาศัยแล้ว (นิสฺสาย) ซึ่งเหตุ ท. สอง (เทฺว การณานิ) คือซึ่งน้ำด้วย (อุทกํ วา) คือซึ่ง
เปือกตมด้วย (กลลํ วา) เมื่อเกิด (ชายมานํ) ย่อมเกิด (ชายติ) ในน้ำ ฉันใด-ฉันนั้น ฯ
5. ในประโยคม้าหลบแส้ ศัพท์นามสามารถสัมพันธ์เข้ากับอุปสรรคได้ เช่น
ในคาถาว่า นิทฺทํ อปโพเธติ ปราศหรือขจัด-(อป) ซึ่งความหลับ-ตื่นอยู่ (ปิโลติก : 5/77)
ให้สัมพันธ์ นิทฺทํ ว่า อวุตฺตกมฺม ใน "อป" แต่ศัพท์ตัวต่อไปว่า กสํ อปพุชฺฌนฺโต หลบ
หลีกอยู่ ซึ่งแส้ ให้สัมพันธ์เข้าเต็มศัพท์ เพราะมีเนื้อความอมความทั้งหมด
6. สกฺกา เป็นกัมมวาจก ในภาค 5 มีอยู่ 3 แห่งด้วยกันเท่านั้น คือ
6.1 ธนํ นาม สกฺกา อุปฺปาเทตุํ (กุกฺกุฏ : 5/27) ชื่อ อ. ทรัพย์ อันใคร ๆ
อาจ เพื่ออันให้เกิดขึ้น
6.2 ภนฺเต เอโกว ปฏิวึโส น สกฺกา ทฺวิธรา กาตุํ (สุขสามเณร : 5/83)
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ส่วน ส่วนหนึ่งเทียว อันข้าพเจ้า ไม่อาจ
เพื่ออันกระทำ โดยส่วนสอง
6.3 เยน ญาเณน สกฺกา โส ทฏฺฐุํ (ปฐมโพธิ : 5/116) อ. นายช่างผู้
กระทำซึ่งเรือนนั้น อันเรา กาจ เพื่ออันเห็น ด้วยญาณใด
6.4 ส่วนที่เป็นกัตตุวาจกนอก กัมมวาจกใน (กัตตุนอก กัมมใน) มีอีด 1
แห่ง คือ นาหํ ตาทิสีนํ สเตนปิ สหสฺเสนปิ สตสหสฺเสนปิ สกฺกา
กมฺเปตุํ (อนาถปิณฺพิก : 5/11ป อ. เรา เป็นผู้แม้อันร้อย แม้อันพัน
แม้อันแสน แห่งบุคคล ท. ผู้เช่นกับด้วยท่าน ไม่อาจ เพื่ออันให้
หวั่นไหว ย่อมเป็น
7. ยสฺมา เป็นกิริยาปรามาส ในประโยคต่อไปนี้
7.1 ยสฺมา นาพฺพณํ วิสมนฺเวติ (กุกฺกุฏ : 5/26) อ. ยาพิษ ย่อมไม่ไปตาม
ซึ่งฝ่ามืออันมีแผลหามิได้ เหตุใด เพราะเหตุนั้น อ. บุคคล พึงอาจ เพื่อ
อันนำไป (หรือ อ. บุคคล พึงนำไป ซึ่งยาพิษ ด้วยฝ่ามือได้)

7.2 ยสฺมา สพฺพสตฺตานํ ชีวิตํ มาณปริโยสานเมวาติ วุตฺตํ โหติ (อุตฺตรา :
5/100) อ. พระดำรัสว่า อ. ชีวิต ของสัตว์ทั้งปวง ท. เป็นชีวิตมีความ
ตายเป็นที่สุดรอบนั่นเทียว ย่อมเป็น เหตุใด เพราะเหตุนั้น อ. กายนั่น
อันเปื่อยเน่า จะแตก ดังนี้ เป็นพระดำรัสอันพระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสแล้ว ย่อมเป็น
7.3 ยสฺมา ชราพฺยาธิมรณมิสฺสกตาย ชาติ นาเมสา ปุนปฺปุนํ อุปคนฺตุํ
ทุกฺขา, น จ สา ตสฺมึ อทิฏฺเฐ นิวตฺตติ; ตสฺมา ... (ปฐมโพธิ :
5/116) ชื่อ อ. การเกิดนั่น คือว่า อ. อันเข้าถึง บ่อย ๆ ชื่อว่าเป็น
เหตุนำทุกข์มาให้ เพราะความที่แห่งการเกิดนั้นเป็นธรรมชาติเจือด้วย
ชราและพยาธิและความตาย ย่อมเป็น, ก็ อ. การเกิดนั้น - ครั้นเมื่อ
นายช่างผู้กระทำซึ่งเรือนนั้น อันเรา ไม่เห็นแล้ว - ย่อมไม่กลับ เหตุ
ใด เพราะเหตุนั้น ...
8. ประโยค กิมงฺคํ ปน (มลฺลิกา : 5/110 ในประโยคที่ว่า เอวรูปสฺส นาม
กฏฺฐกลิงฺครสฺสาปิ ชรา อาคจฺฉติ, กิมงฺคํ ปน อตฺตภาวสฺส (ให้เติม ชรา น อาคจฺฉิสฺสติ)
เข้ามารับในประโยคหลัง ให้นักศึกษาดูว่าประโยคข้างหน้าเป็นธรรมดาหรือปฏิเสธ โดย
ประกอบประโยคให้ตรงกันข้าม และกิริยานั้นต้องประกอบด้วยหมวด ภวิสสันติ วิภัตติ
9. เภริญฺจาราเปสิ เป็นประโยคเหตุกัตตุวาจก แปลว่า "ยังบุคคล ให้ยังกลอง
ให้เที่ยวไปแล้ว" ปกติจะตามด้วยประโยคเลขใน ท่านให้เติมบทกิริยาวิเสสนะที่ว่า "ญาปน
เหตุกํ มีอันให้รู้ (ว่า ... ดังนี้) เป็ฯเหตุ" เข้ามารับ อนึ่งในประโยคส่งข่าวสาส์น ท่านก็นิยม
ใช้ "ญาปนเหตุกํ มีอันให้รู้ (ว่า ... ดังนี้ ) เป็นเหตุ" เข้ามารับ เช่นเดียวกัน
10. ประโยคพิเศษควรจำ คือ ตํ รูปํ โสฬสวสฺสุทฺเทสิกภาวํ อติกฺกมิตฺวา
วีสติวสฺสุทฺเทสิกํ กตฺวา ทสฺเสสิ (รูปนนฺทา : 5/105) ทรงแสดงแล้ว ซึ่งรูปนั้น กระทำ
ให้เป็นรูปก้าวล่วงซึ่งความเป็นแห่งรูปอันบุคคลพึงแสดงขึ้นว่ามีกาลฝนสิบหก อันบุคคล
พึงแสดงขึ้นว่ามีกาลฝนยี่สิบ (สัมพันธ์ว่า อติกฺกมิตฺวา วิเสสน ของ วีสติวสฺสสุทฺเทสิกํ ฯ เป็น
วิกติกมฺม ใน กตฺวา ๆ กิริยาวิเสสน ใน ทสฺเสสิ)
11. ประโยคเศรษฐีขายเรือน ให้สัมพันธ์ว่า "สรูป หรือสรูปวิเสสน" (คือซึ่ง)
ในประโยคว่า อนุปุพฺเพน เขตฺตอารามุยฺยานโยคฺคาทิกํปิ อนฺตมโส ภาชนภณฺฑกํปิ

อตฺถรณปาวุรณนิสีทนํปิ สพฺพํ อตฺตโน สนฺตกํ วิกฺกีณิตฺวา ขาทิ. อถสฺส มหลฺลกกาเลเยว
ปริหีนโภคสฺส อตฺตโน คหํ วิกฺกีณิตฺวา คหิตเคหา นีหรึสุ (มหาธนเสฏฺฐิปุตต : 5/118)
อ. บุตรแห่งเศรษฐีนั้น ขายแล้ว ซึ่งสมบัติอันเป็นของมีอยู่ แห่งตน ทั้งปวง คือซึ่งวัตถุมีนา
และสวนผลไม้และสวนดอกไม้และพาหนะเป็นเครื่องประกอบเป็นต้นบ้าง คือซึ่งสิ่งของคือ
ภาชนะบ้าง คือซึ่งผ้าเป็นเครื่องปูลาดและผ้าเป็นเครื่องห่มและผ้าเป็นที่นั่งบ้าง โดยลำดับ เคี้ยว
กินแล้ว ครั้งนั้น อ. เจ้าของแห่งเรือน ท. (เคหสามิกา) นำออกแล้ว จากเรือนอันบุตร
แห่งเศรษฐีนั้น ผู้มีโภคะอันสิ้นไปรอบแล้ว ขาย ซึ่งเรือนของตน แล้วจึงถือเอาแล้ว ในกาล
แห่งบุตรแ่หงเศรษฐีนั้นถือเอาแล้วซึ่งความเป็นคนแก่นั่นเทียว ฯ
ข้อควรจำในแก้อรรถภาค 5
1. แก้อรรถ หนึ่งบทใช้ "ปทสฺส แห่งบท", สองบทใช้ "ปททฺวยสฺส แห่งหมวด
สองแห่งบท", สองบทขึ้นไปใช้ "ปทานํ แห่งบท ท.", บาทคาถา (8 คำในคาถาปัฐยาวัตร)
ใช้ "คาถาปาทสฺส แห่งบาทแห่งพระคาถา", และในประโยค ตสฺสตฺโถ ให้เติม "คาถา-
วจนสฺส แห่งคำอันเป็นพระคาถา" เข้ามา
2. ตสฺสตฺโถ (ปณฺฑิเตน เวทิตพฺโพ) อ. เนื้อความ (ว่า ... ดังนี้) แห่งคำอันเป็น
พระคาถานั้น อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ
3. อิทํ วุตฺตํ โหติ อ. อรรถรูปนี้ (ว่า ... ดังนี้ ) เป็นคำอธิบายอันพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าตรัสแล้ว ย่อมเป็น ฯ
4. ตั้งวิเคราะห์ในประโยคว่า ตตฺถ อนฺโต อุปฺปนฺตํ อกุสลวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ
หิรินิเสโธ (ปิโลติก : 5/77) ให้เติม "วิคฺคโห ปณฺฑิเตน กาตพฺโพ" เข้ามารับ ดังนี้ :
อ. การวิเคราะห์ว่า อ. บุคคลใด ย่อมห้าม ซึ่งอกุศลวิตก อันเกิดขึ้นแล้ว ในภายใน ด้วยหิริ
เพราะเหตุนั้น อ. บุคคลนั้น ชื่อว่าหิรินิเสโธ ฯ แปลว่า ผู้ห้ามซึ่งอกุศลวิตกด้วยหิริ ดังนี้
อันบัณฑิต พึงกระทำ ในพระคาถานั้น ฯ
5. อิติ แปลว่า "ชื่อว่า" เมื่อมีการอธิบายแก้เนื้อความของบทต่อบทในคาถา เช่น
ตณฺฑุลสายิกาติ : ภูมิสยนํ (พหุภณฺฑิก : 5/70) อ. การนอนบนพื้นดิน ชื่อว่า ตณฺฑุล-
สายิกา ฯ ตตฺถ อานนฺโทติ : ตุฏฺฐิ (วิสาขาย : 5/93) อ. ความยินดี ชื่อว่า อานนฺโท ในพระ
คาถานั้น ฯ แต่ถ้าท่านอธิบายเนื้อความจะตั้งอรรถธรรมดา เช่น สารมฺภกถาติ : เอสา

การณุตฺตรยุคคฺคาหกถา นาม ทุกฺขา (โกณฺฑธาน : 5/52) อ. อรรถว่า ชื่อ อ. วาจาเป็น
เครื่องกล่าวโดยการถือเอาซึ่งคู่อันยิ่งกว่าเหตุนั่น เป็นเหตุนำทุกข์มาให้ ย่อมเป็น ดังนี้ แห่งบท
ว่า สารมฺภกถา ดังนี้ ฯ
6. ปทจฺเฉโท (ปณฺฑิเตน กาตพฺโพ) อ. การตัดซึ่งบท ว่า น อนาสกา ดังนี้ ใน
บท ท. เหล่านั้นหนา แห่งบทว่า นานาสถา ดังนี้ อันบัณฑิต พึงกระทำ (พหุภณฺฑิก : 5/70)
7. ตตฺถ เวติ นิปาโต (มลฺลิกา : 5/110 ) อ. ศัพท์ว่า เว ดังนี้ ในพระคาถานั้น
เป็นนิบาต ย่อมเป็น ฯ
8. ให้เติม วจนํ เข้ามารับพระคาถาในประโยคว่า ทุกฺขา ชาติ
ปุนปฺปุนนฺติ อิทํ คหการกคเวสนสฺส การณวจนํ (ปฐมโพธิ : 5/116) อ. คำนี้ว่า ทุกฺขา
ชาติ ปุนปฺปุนํ ดังนี้ นี้ เป็นคำแสดงซึ่งเหตุ แห่งการแสวงหาซึ่งนายช่างผู้กระทำซึ่งเรือน
ย่อมเป็น
ภาค 6
1. ไม่มีกิริยาปธานนัย
2. วิกติกัตตา ประกอบรูปเป็นปฐมาวิภัตติ ในประโยคกัตตุวาจกและเหตุกัตตุ
วาจก แต่ในประโยคภาววาจก กัมมวาจก และเหตุกัมมวาจก จะประกอบเป็นตติยาวิภัตติ
เช่น
2.1 มชฺฌิมวเย อปฺปมตฺเตน หุตฺวา กุสลํ กาตพฺพํ (อุปนนฺท : 6/5)
อ. กุศล อันบุคคล เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว ในมัชฌิมวัย เป็น พึง
กระทำ
2.2 เตน อตฺตทตฺถตฺเถเรน วิย ภวิตุํ วฏฺฏติ (ปธานิก : 6/26) อ. อัน
บุคคลนั้น เป็นราวกะว่าพระเถระชื่อว่าอัตตทัตถะ เป็น ย่อมควร
2.3 สตฺถารา เม กุปิเตน ภวิตพฺพํ (อสทิสทาน : 6/55) อันเรา เป็นผู้อัน
พระศาสดา ทรงกริ้วแล้ว พึงเป็น (ภาวนอก กัมมใน)
3. วิกติกัมมะ ในประโยคกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ ดังนี้ ปรํ
โอวทนฺเตน นาม อตฺตา สุทนฺโต กาตพฺโพ (ปธานิก : 6/10) อ. ตน อันบุคคล ชื่อว่าผู้
กล่าวสอนอยู่ ซึ่งบุคคลอื่น พึงกระทำ ให้เป็นผู้มีตนอันฝึกดีแล้ว

4. สกฺกาเป็นวิกติกัตตา เช่น (ทานํ) น สกฺกา โหติ (อสทิสทาน : 6/51)
อ. ทาน เป็นทานอันใคร ๆ ไม่อาจ ... ย่อมเป็น ให้ดูเปรียบเทียบกับประโยคเฉลยใน
สนามหลวง ซึ่งปกติทั่วไปควรให้เป็นประโยคภาววาจก แต่เฉลยเป็นกัมมวาจก ดังนี้ เอกสฺส
พุทฺธสฺส เอกวารเมว สกฺกา ทาตุํ (อสทิสทาน : 6/55) อ. อสทิสทานั้น อันใคร ๆ
อาจ เพื่ออันถวาย แด่พระพุทธเจ้า พระองค์เดียว สิ้นวาระเดียวนั่นเทียว
5. สกฺกาเป็นกัมมวาจก เช่น น สกฺกา อมฺมา เอส เกนจิ วเส กาตุํ (มารธีตา :
6/64) ดูก่อนแม่ ท. อ. เจ้าชายสิทธัตถะนั่น อันใคร ๆ ไม่อาจ เพื่ออันกระทำ ในอำนาจ
6. วิเสสลาภี ต้องขึ้นประธานและเติมเข้ามาในคาถาว่า ตฺวํ วา อญฺโญ มิโค วา
มิโค (กุมารกสฺสป : 6/15) อ. เนื้อ คือ อ. ท่านหรือ หรือว่า คือ อ. เนื้ออื่น และในประโยค
ต่อมาที่ว่า โก หิ นาโถ ปโร สิยา (คาถากุมารกสฺสป : 6/15) ก็ อ. บุคคลอื่น คือ
อ. ใคร เป็นที่พึ่ง พึงเป็นและในประโยคธิดามารที่ว่า อยํ โส ปุริโส (มารธีตา : 6/63)
อ. สมณะนี้ คือ อ. บุรุษนั้น เป็นวิเสสลาภีเช่นกัน แต่หากนักเรียนจะแปลเป็นวิกติกัตตาว่า
อ. สมณะนี้ เป็นบุรุษนั้น ย่อมเป็น ดังนี้ก็ได้เช่นกัน
7. ปุตฺตสิเนหํ ฉินฺทิตฺวา เถริยา อตฺตนา ว อตฺตโน ปติฏฺฐานกตภาวํ
(กุมารกสฺสป : 6/15) "ซึ่งความที่แห่งพระเถรี เป็นผู้มีที่พึ่งอันตัดแล้ว ซึ่งความรักในบุตร
กระทำแล้ว แก่ตน ด้วยตนเทียว" (ต. พหุพ.) หรือแปลว่า "ซึ่งความที่แห่งตนอันพระเถรี
ตัดแล้ว ซึ่งความรักในบุตร กระทำแล้วให้เป็นที่พึ่ง" ดังนี้ก็ได้
8. ประโยคงวงช้าง (นาคโสณฑิ) ซึ่งมี "กสฺมา" เป็นที่สังเกตได้ เช่น กสฺม ปน
โส ตํ นิวาเรสีติ ฯ เอวํ กิรสฺส อโหสิ สตฺถุ สนฺติเก ธมฺมํ สุตฺวา มยิ ภิชฺชิสฺสตีติ ฯ (กาล :
6/22) อ. อันถามว่า ก็ อ. พระเถระชื่อว่ากาละนั้น ห้ามแล้ว ซึ่งหญิงนั้น เพราะเหตุไร
ดังนี้ ฯ อ. อันแก้ว่า ได้ยินว่า อ. ความคิดอย่างนี้ว่า อ. หญิงนี้ ฟังแล้ว ซึ่งธรรม ในสำนัก
ของพระศาสดา จักแตก ในเรา ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่พระเถระนั้น เพราะเหตุนั้น อ. พระเถระ
นั้น ห้ามแล้ว ซึ่งหญิงนั้น ดังนี้ ฯ
กสฺมา ปน ตํ สตฺถา โอโลเกสีติ ฯ เอวํ กิรสฺส อโหสติ "เอสา เอตฺโต ว
คจฺฉมานา ปุถุชฺชนกาลกิริยํ กตฺวา อนิยตคติกา ภวิสฺสติ, มม สนฺติกํ อาคนฺตฺวา
คจฺฉมานา ปน โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา นิยตคติกา หุตฺวา ตุสิตวิมาเน นิพฺพตฺติสฺสตีติ ฯ
(เปสการธีตา : 6/41) อ. อันถามว่า ก็ อ. พระศาสดา ทรงแลดูแล้ว ซึ่งนางกุมาริกานั้น

เพราะเหตุไร ดังนี้ ฯ อ. อันแก้ว่า ได้ยินว่า อ. พระดำริอย่างนี้ว่า อ. นางกุมาริกานั่น เมื่อไป
จากที่นี้เทียว กระทำแล้ว กระทำซึ่งกาละแห่งปุถุชน เป็นผู้มีคติไม่เที่ยงแล้ว จักเป็น แต่ว่า
อ. นางกุมาริกานั่น มาแล้ว สู่สำนักของเรา เมื่อไป บรรลุแล้ว ซึ่งโสดาปัตติผล เป็นผู้มีคติ
เที่ยงแล้ว เป็น จักบังเกิด ในวิมานชื่อว่าดุสิต ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่พระศาสดานั้น เพราะ
เหตุนั้น อ. พระศาสดา ทรงแลดูแล้ว ซึ่งนางกุมาริกานั้น ดังนี้ ฯ
9. ทุติยาสัมพันธ (ทุติยาวิภัตติ แปลหักเป็นฉัฏฐีวิภัตติ) เช่น มม ธมฺมเทสนํ
สุตทิวสโต ปฏฺฐาย (6/39-40) จำเดิม แต่วันแห่งพระธรรมเทศนาของเราอันตนฟังแล้ว
ให้แปลเหมือนเรื่องรูปนันทาตรงที่ว่า อิทฺธิมยรูปํ ทิฏฺกาลโต แต่กาลแห่งรูปอันสำเร็จแล้ว
ด้วยฤทธิ์ อันนางรูปนันทานั้นเห็นแล้ว (รูปนนฺทา : 5/104)
10. ฉัฏฐีสัมปาปุณิยกัมม (ฉัฏฐีวิภัตติแปลว่า สู่) เช่น อปฺโป สคฺคาย คจฺฉติ
(เปสการธีตา : 6/43) อ. สัตว์น้อย ย่อมไป สู่สวรรค์ ให้ศึกษาดูเปรียบเทียบกับ สคฺคสฺส
คมเนน (อนาถปิณฑิกปุตตกาล : 6/59) กว่าการไป สู่สวรรค์
11. ราชสีห์กระทืบถ้ำ ให้สัมพันธ์ว่า "สรูป หรือสรูปวิเสสน" (คือซึ่ง) ในประดยค
ว่า อุปฏฺฐากานํปิ อญฺญตรํ โกสลราชานํ วา อนาถปิณฺฑิกํ วา วิสาขํ วา มหาอุปาสิกํ
อิมิสฺสา จิญฺจมาณวิกาย กตฺตพฺพยุตฺตกํ กโรหีติ น วเทสิ (จิญฺจมาณวิกา : 6/48)
อ. พระองค์ไม่ตรัสแล้ว ว่า อ. เธอ จงกระทำ ซึ่งกิจอันควรแล้วแก่กิจอันตนพึงกระทำ แก่
นางจิญจมาณวิกานี้ ดังนี้ กะ - แม้แห่งอุปัฏฐาก ท. หนา - อุปัฏฐากคนใดคนหนึ่ง คือ
กะพระราชาพระนามว่าโกศลหรือ หรือว่าคือกะเศรษฐีชื่อว่าอนาถปิณฑิกะ หรือว่าคือ
กะนางมหาอุบาสิกาชื่อว่าวิสาขา ฯ
12. สรูป(วิเสสน) เช่น อหเมว ตฺวญฺจ (มยํ) ... ชานาม อ. เรา ท. คือ อ. เราด้วย
นั่นเทียว คือ อ. ท่านด้วย ย่อมรู้ ... (จิญฺจมาณวิกา : 6/48)
13. อทิฏฺฐา แปลว่า "ไม่เห็นแล้ว" ท่านลง ตฺวา ปัจจัย (คาถานางจิญจมาณวิกา
: 6/49) และถัดมาจากนั้นในประโยคว่า นาทิฏฺฐา ปรโต โทสํ อณุํถูลานิ สพฺพโส
ทางสัมพันธ์เรียกชื่อว่าวิเสสนลิงควจนวิปลฺลาส คือ ศัพท์ว่า อณุํถูลานิ เป็นวิเสสนลิงควจน
วิปลฺลาส ของ โทสํ
14. มาน ปัจจัย สามารถใช้เป็นวิกติกัตตาได้ เช่น ธีโร จ ทานํ อนุโมทนาโน (อสทิส
ทาน : 6/56) ส่วนว่า อ. นักปราชญ์ เป็นผู้อนุโมทนาอยู่ ซึ่งทาน ย่อมเป็น

15. ยํ เป็นกิริยาปรามาส (โดยย่อให้โยค ปพฺพํ (อ. ข้อ) รับในประโยค ต) เช่น
15.1 น โข ปน เม ตํ ปฏิรูปํ, ยํ มยิ ปสฺสนฺเต มม ปุตฺโต นิรยํ คจฺเฉยฺย
(อนาถปิณฑิกปุตตกาล : 6/57) (หรือให้โยคล้มประโยค ย ว่า ตํ
มม ปุตฺตสฺส นิรยสฺส คมนํ ก็ได้) ก็ ครั้นเมื่อเรา เห็นอยู่ อ. บุตร
ของเรา พึงไป สู่นรก ใด, อ. ข้อนั้น (หรือ อ.การไป สู่นรก แห่งบุตร
ของเรานั้น) เป็นการสมควร แก่เรา ย่อมเป็น หามิได้แล ฯ
15.2 อนจฺฉริยญฺเจตํ, ยํ อิทานิ มม ธุรํ วหิตุํ สมตฺโถ น ภเวยฺย
ถ้าต้องการล้มประโยคให้ เอตํ โยค อิทานิ มม ธุรํ วหิตุํ สมตฺถสฺส
อภวนํ/นตฺถิตฺตํ (ยมก : 6/79) ก็ อ. บุคคล เป็นผู้สามารถ เพื่ออัน
นำไป ซึ่งธุระ ของเรา ไม่พึงมีในกาลนี้ ใด, อ. ข้อนั่น (หรือ อ. อันไม่
มี แห่งบุคคล ผู้สามารถ เพื่ออันนำไป ซึ่งธุระ ของเรา ในกาลนี้ นั่น/
อ. ความที่แห่ง ... ไม่มีนั่น) เป็นเรื่องไม่น่าอัศจรรย์ ย่อมเป็น ฯ
15.3 อนจฺฉริยํ ภิกฺขเว เอตํ, ยํ สกฺโก เทวราชา มยิ สิเนหํ กโรติ;
(สกฺก : 6/135) ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อ. เทวดาผู้พระราชา พระนาม
ว่าสักกะ ย่อมกระทำซึ่งความรักในเรา ใด, อ. ข้อนั่น (หรือ อ. อัน
กระทำ ซึ่งความรัก ในเรา แห่งเทวดาผู้พระราชา พระนามว่าสักกะ
นั้น = เอตํ สกฺกสฺส เทวรญฺโญ มยิ สิเนหสฺส กรณํ) เป็นเรื่องไม่น่า
อัศจรรย์ ย่อมเป็น ฯ
16. รุจฺจติ อัน ... ย่อมชอบใจ (อสทิสทาน : 6/58-9) เป็นกัมมวาจก หรือใน
ประโยคว่า มา เต อปฺปมตฺตกสฺส การณา มม อากาเส อุปฺปตนํ รุจฺจติ อ. อันเหาะขึ้น
ในอากาศ แห่งเรา เพราะเหตุ แห่งบาตรอันมีประมาณน้อย อันท่าน อย่าย่อมชอบใจ (ยมก
: 6/68) เป็นกัมมวาจาก
17. วิเสสนลิงควจนวิปลฺลาส เช่น สตํ สตํ อตฺตภาเว อภินิมฺมินิตฺวา (มารธีตา :
6/64) เนรมิตแล้ว ซึ่งอัตภาพ ท. ร้อย ร้อย
18. อลํ เป็นวิกติกัตตาในประโยคที่ว่า ตํ เม เอกสฺมึ อตฺตภาเว ชีวิตวุตฺติยา
นมลํ (ยมก : 6/73) อ. ทรัพย์นั้น เป็นทรัพย์ไม่เพียงพอ แก่เรา เพื่อความเป็นไปแห่งชีวิต
ในอัตภาพหนึ่ง ย่อมเป็น และในประโยค อลํ อโหสิ (อานนฺทปญฺห : 6/100) ... เป็นของ
เพียงพอ...ได้เป็นแล้ว ก็เช่นเดียวกัน

19. อุปมาวิกติกัมมะ ในประโยคที่ว่า อิมํ มหาปฐวึ กฏสารกํ วิย สํวเลฺลิตฺวา
องฺคุลนฺตเร นิกฺขิปิสฺสามิ (ยมก : 6/78 อ. เรา ม้วนแล้ว ซึ่งแผ่นดินใหญ่นี้ กระทำ
ให้เป็นราวกะว่าเสื่อลำแพน จักใส่ไว้ ในระหว่างแห่งฟัน และประโยคต่อมาที่ว่า มหาปฐวึ
กุลาลจกฺกํ วิย ปริวตฺเตตฺวา (ยมก : 6/78) ... ยังแผ่นดินใหญ่ให้เป็นไปรอบแล้ว กระทำ
ให้เป็นราวกะว่าล้ออันเป็นวิการแห่งดิน
20. ทชฺชา แปลว่า ให้แล้ว (ยมก : 6/85) ทางลง ตฺวา (ตูนาทิ) ปัจจัย
21. กาเหลียวหลัง (กาโกโลกนัย) เป็นการแปลซ้ำสองหนของวิภัตติต่างกัน ใช้กับ
อมฺห ศัพท์ส่วนมาก เช่น เตสํ เม นิปโก อิริยํ ปุฏฺโฐ ปพฺรูปิ มาริส (ยมก : 6/92)
ดูก่อนเธอผู้เช่นกับด้วยเรา อ. เธอ ผู้อันเรา ถามแล้ว จงบอก ซึ่งความเป็นไป แห่งพระ
เสขะและพระอเสขะ ท. เหล่านั้น แก่เรา และประโยคที่ว่า ตํ เม อกฺขาหิ ปุจฺฉิโต (เอรก
: 6/97) อ. ท่าน ผู้อันเรา ขอจงบอก ซึ่งเหตุนั้น แก่เรา
22. ต ปัจจัยเมื่อต้องการให้เป็นสมานกาลกิริยา เช่น ตตฺถ ฐิตา นจฺจนฺตี (เอรก
: 6/95) "เป็นผู้ยืนอยู่แล้ว เป็น ฟ้อนอยู่ ในที่นั้น หรือเป็นผู้ยืนฟ้อนอยู่แล้ว เป็นในที่นั้น"
ให้สัมพันธ์เป็นสมานกาลกิริยาโดยใส่ "หุตฺวา" เข้ามาหลัง ฐิตา ลักษณะเช่นนี้จะมี 2 แห่ง
ในธรรมบทภาค 5-7 (อีกแห่งหนึ่งคือ สุมน : 8/91 ดูคำอธิบายในภาค 8 ด้วย)
23. วิกติกัมะในประโยคกัมมวาจกและเหตุกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ
เช่น โส สพฺเพหิ กามโยคาทีหิ วิสํยุตฺโต โยคกฺเขมี นาม วุจฺจติ (เอรก : 6/97) อ. บุคคลนั้น
ผู้ประกอบพร้อมไปปราศแล้ว จากกิเลสเป็นเครื่องประกอบ ท. มีกิเลสเป็นเครื่องประกอบ
คือกามเป็นต้น อันบัณฑิต ย่อมเรียก ให้ชื่อว่าผู้มีความเกษมจากโยคะ
24. วิเลสลาภี ในประโยคที่ว่า ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา (อานนฺทปญฺห : 6/101)
อ. ความอดทน คือ อ. ความอดกลั้น เป็นตปะอย่างยิ่ง ย่อมเป็น
25. ข, ณย ปัจจัยในนามกิตก์ โดยทั่วไปไม่นิยมใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ เช่น
"อวิสยฺหา เป็นผู้อัน ... พึงข่มไม่ได้" และ "วิสยฺหา เป็นผู้อัน ... พึงข่มได้" (อคฺคิทตฺต
: 6/107) ท่านนิยมให้แปลเป็น วิกติกัตตา (กัตตุนอก กัมมใน) แต่ศัพท์ว่า "ปาฏิกงฺขา อัน
... พึงหวังเฉพาะ" (สมฺพหุล : 6/114) ท่านมักใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ได้
26. บางครั้งใช้เป็นวิเสสลาภี ได้เนื้อความดีกว่าในประโยคเช่น กหํ เต ขาริภณฺฑํ
ปพฺพชิตปริกฺขาโร (อคฺคิทตฺต : 6/107) อ. บริขารแห่งบรรพชิต คือ อ. สิ่งของแห่ง
สาแหรก ของท่าน มีอยู่ ในที่ไหน

27. พหุํ เว เป็นวิเสสน ของ มนุสฺสา (คาถาอคฺคิทตฺต : 6/109) เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า
วิเสสนลิงควจนวิปลฺลาส และ ปพฺพตานิ เป็นทุติยาวิภัตติ แต่ต้องเรียกชื่อสัมพันธ์ว่า
อวุตฺตกมฺมลิงควิปลฺลาส
28. คาถาเรื่องอัคคิทัต (6/110) ให้แปลเป็นสรูป (คือซึ่ง) ดังนี้ จตฺตาริ อริย-
สจฺจานิ สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสติ ทุกฺขํ ทุกฺขสมุปฺปาทํ ทุกฺขสฺส จ อติกฺกมํ อริยญฺจฏฺฐงฺคิกํ
มคฺคํ ทุกฺขูปสมคามินํ ย่อมเห็น ซึ่งอริยสัจ ท. สี่ คือซึ่งทุกข์ด้วย คือซึ่งสมุทัยเป็นเหตุเกิด
ขึ้นพร้อมแห่งทุกข์ด้วย คือซึ่งนิโรธเป็นเครื่องก้าวล่วง ซึ่งทุกข์ด้วย คือซึ่งมรรคอัน
ประเสริฐ อันประกอบแล้วด้วยองค์แปด อันเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงซึ่งความเข้าไปสงบแห่ง
ทุกข์ด้วย
29. ให้โยค "สัตว์หรือ หรือว่าสังขาร" (ตโยชน : 6/139-140), "นินทาหรือ
หรือว่าสรรเสริญ" (อตุล : 6/186)
30. ปญฺญาเปหิ ให้ดูบริบทว่าจะให้เป็นกัตตุวาจก หรือเหตุกัตตุวาจก โดยทั่ว
ไปแล้วเป็นเหตุกัตตุวาจก แต่ ปญฺญาเปหิ แปลว่า จงปูลาด (โรหิณี : 6/160) ให้ถือเป็น
กัตตุวาจก
31. อาคตํ อันท่านมาแล้ว, สฺวาคตํ อันท่านมาดีแล้ว (นนฺทิย : 6/157) เป็น
ภาววาจก
ข้อควรจำในแก้อรรถภาค 6
1. ยามนฺติ กตฺวา (โพธิราช : 6/4) กระทำให้ชื่อว่ายาม (อิติ อาการ ใน กตฺวา)
2. ไม่ตั้งแก้อรรถในประโยคกัตตุวาจกที่มี สตฺถา และกิริยา ทสฺเสติ (โพธิราช :
6/4)
3. ไม่ตั้งอรรถในประโยคว่า สุขํ เสตีติ เทสนามตฺตเมตํ (สุทฺโธทน : 6/32)
อ. พระดำรัสว่า สุขํ เสติ ดังนี้นั่น เป็นพระดำรัสสักว่าพระเทศนา ย่อมเป็น ฯ
4. ไม่ตั้งแก้อรรถในประโยคกัตตถวาจกที่มี สตฺถา และกิริยา ทสฺเสติ (อภยราช :
6/35) เช่น ตตฺถ เอถ ปสฺสถาติ ราชกุมารเมว สนฺธายาห. อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า
เอถ ปสฺสถ ดังนี้ ในพระคาถานั้น ทรงหมายเอา ซึ่งพระราชกุมารนั่นเทียว
5. อิติ แปลว่า "ชื่อว่า" เรียกว่า "สญฺญาโชตก" เช่น พาลาติ อิธโลกปรโลกตฺถํ

อชานนกา (อสทิสทาน : 6/56) อ. ชน ท. ผู้ไม่รู้ ซึ่งประโยชน์ในโลกนี้และโลกหน้า ชื่อว่า
พาลา ฯ และประโยคที่ว่า ธีโรติ ปณฺฑิโต (อสทิสทาน : 6/56) อ. บัณฑิต ชื่อว่า ธีโร ฯ
6. ปทจฺเฉโท (ปณฺฑิเตน กาตพฺโพ) อ. การตัวซึ่งบท ว่า น อุยฺยาติ ดังนี้ แห่งบทว่า
โนยาติ ดังนี้ อันบัณฑิต พึงกระทำ (มารธีตา : 6/65)
7. ต้องเพิ่มเนื้อความเข้ามาในประโยคที่ว่า อายสฺมา สมิทฺธิ วิย (เติม กาเมหิ
เทเวหิ นิมนฺติยมาโน) (อนภิรติ : 6/105) ราวกะ อ. พระสมิทธิ ผู้มีอายุ ผู้อันเทวดา ท.
เชื้อเชิญอยู่ ด้วยกาม ท. ฯ
8. วิเสสลาภี เช่น โย จ คหฏฺโฐ วา ปพฺพชิโต วา (อคฺคิทตฺต : 6/110)
อ. บุคคลใด คือ อ. คฤหัสถ์หรือ หรือว่าคือ อ. บรรพชิต และในประโยคที่ว่า โส สพฺพตฺถ
ปจฺจนฺตเทเส วา นีจกุเล วา น ชายติ (อานนฺทปญฺห : 6/112) อ. บุรุษผู้อาชาไนยนั้น
ย่อมไ่ม่เกิด ในที่ทั้งปวง คือในปัจจันตประเทศหรือ หรือว่าคือในตระกูลอันต่ำ ฯ
9. แปลรูปวิเคราะห์เจดีย์ทอง ในประดยคว่า ตตฺถ ปูชิตุํ อรหา ปูชารหา. ปูชิตุํ
ยุตฺตาติ อตฺโถ. (สุวณฺณเจติย : 6/116) อ. ชน ท. เหล่านั้น เป็นผู้ควร เพื่ออันบูชา ย่อม
เป็น อ. อธิบายว่า ควรแล้ว เพื่ออันบูชา อ. ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่าปูชารหา ๆ แปลว่า
ผู้ควรเพื่ออันบูชา ในพระคาถา ท. เหล่านั้น ฯ
ภาค 7
1. กิริยาปธานนัยมี 3 ตัว คือ ปวิสิตฺวา (สูกรเปตฺต : 7/67), อคนฺตฺวา (สูกร
เปตฺต : 7/68), อุปฺปาเทตฺวา (กุกฺกุฏณฺฑขาทิกา : 7/98)
2. สัมภาวนะในประโยคภัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ ดังนี้ โธนา วุจฺจติ
... ปญฺญา อ. ปัญญา ... อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมตรัสเรียก ให้ชื่อว่า
โธนา
(ติสฺส : 7/11)
3. ชีวิตํ (จูฬสารี : 7/17-20) อ. อันบุคคล ... เป็นอยู่
4. ทุปฺปพฺพชฺชํ (วชฺชีปุตฺต : 7/109) อ. อันบุคคลบวชได้โดยยาก
5. ขึ้น อตฺตา แปลว่า อ. ตน เป็นประธาน (โพธิราช : 6/4), (ปญฺจอุปาสก :
7/21), (สานุ : 7/153)

6. สกฺกา (โหติป ให้เป็นวิกติกัตตา (เมณฺฑก : 7/37)
7. สกฺกา ใช้เป็นกัมมวาจก (สมฺพหุล : 7/62), (ปญฺจสต : 7/158)
8. อลํ ให้เป็นวิกติกัตตา ในคาถาเรื่องมารที่ว่า ทฺวิตาปิ นาลเมกสฺส (มาร :
7/160)
9. (อิ)ว แปลว่า ฉันใด (ติสฺส : 7/11), (ปริชิณฺณ : 7/142)
10. สตฺถา ฟุตโน้ตท่านแก้เป็น สตฺถารา (อตฺตโนปุพฺพกมฺม : 7/89)
11. วสฺสิ (ซึ่งมี โปกฺขรวสฺสํ เป็นประธาน) ส่วนมากท่านใช้เป็นเหตุกัตตุวาจก แต่
เป็นกัตตุวาจกได้บ้าง ดังนี้ (อตฺตโนปุพฺพกมฺม : 7/90), (อตฺตโนปุพฺพกมฺม :
7/96)
12. มหาเมโฆ อุฏฺฐาย ปาวสฺสิ (วินิจฺฉย : 7/41) อ. มหาเมฆ ตั้งขึ้นแล้ว ยังฝน
ให้ตกลงแล้ว
13. ปญฺญาเปสิ เป็นเหตุกัตตุวาจก (อตฺตโนปุพฺพกมฺม : 7/90)
14. (โส ทารโก) มา เต รุจฺจิ (ทารุสาฏิก : 7/104) อ. เด็กนั้น อันท่าน อย่าชอบ
ใจแล้ว เป็นกัมมวาจก
15. ปลิตํ อ. การหงอก สิโร บนหัว (ลกุณฺฏก : 7/46)
16. กิจฺจํ แปลว่า อันเขา พึงกระทำ ท่านใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เป็นกัมมวาจกใน
ที่ 2 แห่ง คือ (คาถามหาธนวาณิช : 7/81), (คาถาลกุณฺฏก : 7/100)
17. ยถาห (ภทฺทิย : 7/99) อ. พระเถระชื่อว่าอุบาลี กล่าวแล้ว ฉันใด
18. คาถาประโยคประตูเมือง (อาคนฺตุก : 7/131) คุตฺตํ สนฺตรพาหิรํ แปลเป็น
วิกติกัมมะ ซึ่งท่านประกอบวิภัตติเป็นปฐมาวิภัตติ ดังนี้ "อันมนุษย์ ท. คุ้ม
ครองแล้ว ให้เป็นของเป็นไปกับด้วยภายในและภายนอก"
19. ตุํ ที่เป็นภาวรูปมีบ้างไม่ดาษดื่น เช่น สเร สหิตุํ ภาโร (อตฺตโน : 7/137)
อ. อันอดกลั้น ซึ่งลูกศร ท. ... เป็นภาระ ...
20. อญฺญสฺสาติ (ปริชิณฺณ : 7/141) ให้เติม ฆรํ คนฺตฺวา ปลาปิโต เข้ามารับ
แปลว่า ไปแล้ว สู่เรือน ของบุตรอื่น ผู้อัน ... ให้หนีไปแล้ว
21. อัฏฐานยุต คืออิติ ที่วางผิดที่ ควรอยู่ในที่แห่งหนึ่ง แต่ท่านเรียงติดไว้กับ

ที่อีกแห่งหนึ่ง เช่น วุตฺตมฺปิ เจตํ (ปริชิณฺณ : 7/141) จริงอยู่ อ. คำแม้นั่น
อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้แล้ว
22. วิเสสลาภี เช่น เตปิฏกํ พุทฺธวจนํ (สานุ : 7/153-4) ซึ่งพระพุทธพจน์
คือซึ่งหมวดสามแห่งปิฎก
23. ลิภถ เป็นปฐมบุรุษ เอกวจนะ ท่านขึ้น ปุคฺคโล เป็นประธานได้บ้าง (สมฺพหุล
ภิกฺขุ : 7/157)
24. คาถาประโยคภูเขาทอง ท่านตัดบท ปพฺพตสฺส เป็น ปพฺพโต (อ. ภูเขา) อสฺส
(พึงเป็น) (มาร : 7/160)
ข้อควรจำไม่ตั้งอรรถในภาค 7
1. นิปาตมตฺตํ (โคฆาตก : 7/5) สักว่าเป็นนิบาต ย่อมเป็น
2. ตตฺถ อสชฺฌายมลาติ : อิทํ ปทํ มยา วุจฺจเต (โลฬุทายี : 7/14) อ. บทว่า
อสชฺฌายมลา ดังนี้ นี้ ในพระคาถานั้น อันข้าพเจ้า จะกล่าว ฯ ท่านอธิบาย
ว่า เพราะมีเนื้อความยาวจนจบอรรถกถา
3. (สตฺถา) อาลปติ (ปญฺจอุปาสก : 7/21) อ. พระศาสดา ย่อมตรัสเรียก
4. ท่านตั้งวินิจฉัยในประโยคว่า กลึว กิตวา สโฐติ เอตฺถ (วินิจฺฉโย ปณฺฑิเตน
เวทิตพฺโพ) (เมณฺฑก : 7/37) อ. วินิจฉัย ในบาทแห่งพระคาถานั้นว่า กลึว
กิตวา สโฐ ดังนี้ อันบัณฑิต พึงทราบ และในประโยคที่ว่า วนํ วนฏฺฐญฺจาติ
เอตฺถ (วินิจฺฉโย ปณฺฑิเตน เวทิตพฺโพ) (มหลฺลก : 7/76) อ. วินิจฉัย ใน
หมวดสองแห่งบทว่า วนํ วนฏฺฐญฺจ ดังนี้ อันบัณฑิต พึงทราบ ก็เช่นเดียวกัน
5. เทสนามตฺตเมตํ (ลกุณฺฑก : 7/47) อ. บทนั่น (ว่า...ดังนี้) เป็นสักว่าหัวข้อ
แห่งเทศนา ย่อมเป็น
6. (สตฺถา) อาห (สมฺพหุล : 7/56) อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว
7. มารเสนปฺปโมหนนฺติ : เอตํ หิ ... วุจฺจติ (ปญฺจสต : 7/60) อ. พระดำรัสนั่น
ว่า มารเสนปฺปโมหนํ ดังนี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้ว ...
8. อธิปฺเปตา (ปญฺจสต : 7/62)

9. เวยฺยคฺฆปญฺจมนฺติ เอตฺถ (วิคฺคโห กาตพฺโพ) (ลกุณฺฏก : 7/103) ท่านตั้ง
วิเคราะห์ว่า อ. วิเคราะห์ในบทนั้นว่า เวยฺยคฺฆปญฺจมํ ดังนี้ อันบัณฑิต พึง
กระทำ
ภาค 8
1. กิริยาปธานนัยมีดังนี้ สุตฺวา (กปิล : 8/1), จริตฺวา (อุคฺคเสน : 8/28),
อพฺภุคฺคนฺตฺวา (สมฺพหุล : 8/77), ขาทิตฺวา (สุมน : 8/88), คเหตฺวา (สามเณร
: 8/138), อารุยฺห (เป็นกิริยาปธานนัยนอกแบบ) (สุนฺทรสมุทฺท : 8/156),
หุตฺวา (แปลว่า เป็นแล้ว ทั้ง 2 ตัว) (โชติก : 8/160), ทิสฺวา และ วตฺวา
(โชติก : 8/172)
2. ยํ กิริยาปรามาส ในประโยคว่า ยํ ปน ทีฆรตฺตํ พุทฺธวจนํ วาเจสิ พุทฺธสฺส วณฺณํ
กเถสิ, ตสฺส (โยค กมฺมสฺส หรือ ปพฺพสฺส) นิสฺสนฺเทน (สูกรโปติกา : 8/5)
3. อาลปนะที่มาคู่กัน ให้เรียกเป็นวิเสสนะของอาลปนะได้ เช่น สำนวนสนามหลวง
นฏปุตฺต อุคฺคเสน มหพฺพล (อุคฺคเสน : 8/25) ดูก่อนอุคคเสน ผู้เป็นบุตร
ของนักฟ้อน ผู้มีกำลังมาก
4. ประโยคจันทโครบ (จูฬธนุคฺคหปณฺฑิต : 8/30) ที่ควรจำเป็นพิเศษ คือ ...
มาริตภาวํ จ ซึ่งความที่แห่งบัณฑิตชื่อว่าจูฬธนุคคหะ ผู้ ... เป็นผู้อันหญิง
นั้น - ครั้นเมื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . อันตนกล่าวแล้ว - กระทำ ซึ่งความรัก
ในโจรอันตนเห็นแล้วในขณะนั้น แล้วจึงวาง ซึ่งด้ามแห่งดาบ ในมือ แห่งโจร
ยังโจร ให้ฆ่าแล้วด้วย, โจเรน จ ... คมนภาวํ จ ซึ่งความเป็นคืออันโจร
... ไป (โจเรน สัมพันธ์เข้ากับ คมน - แค่นั้น)
5. ประโยคเศรษฐีไม่มีบุตร ดูกิริยาปรามาส ยํ โข โส ... (อปุตฺตกเสฏฺฐิ :
8/43-44) ศึกษาบทใกล้เคียงที่มีลักษณะเหมือนกิริยาปรามาสในประโยค
ที่ว่า วรเมตํ ปิณฺฑปาตํ ทาสา วา กมฺมกรา วา ภุญฺเชยฺยุํ (เอตํ ให้โยค
ปิณฺฑปาตสฺส ทาสานํ วา กมฺมกรานํ วา ภุญฺชนํ หรือโยคแค่ ปพฺพํ)
อ. ทาส ท. หือ หรือว่า อ. กรรมกร ท. พึงบริโภค ซึ่งบิณฑบาต อ. ข้อนั่น
(หรือ อ. การบริโภค ซึ่งบิณฑบาต แห่งทาส ท. หรือ หรือว่าแห่งกรรมกร ท.
นั่น) เป็นสิ่งประเสริฐ ย่อมเป็น

6. นาลํ และ นาปิ (อลํ) ในพระคาถาที่ว่า นาลํ ถุตุํ นาปิ นิปจฺจขาที
(ปญฺจคฺคทายก : 8/65) เป็นกิริยาบท กัตตุวาจก แตกต่างกับเรื่องวิฑูฑภะ
ในภาค 3 ซึ่งเป็นกัมมวาจก (วิฑูฑภ : 3/8-9)
7. นิปจฺจขาที (ภวิตุํ) (ปญฺจคฺคทายก : 8/65) แปลว่า "เพื่ออันเป็นผู้ติเตียน
แล้วฉัน (ซึ่งภัตรนั้น) โดยปกติ เป็น"
8. สัมภาวนะในประโยคกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติดังประโยคที่ว่า
มนฺตา วุจฺจติ ปญฺญา (โกกาลิก : 8/58) อ. ปัญญา อันพระผู้มีพระภาคเจ้า
ย่อมตรัสเรียก ให้ชื่อว่ามันตา และประโยคที่ว่า ภิกฺขุ อุปสนฺโต วุจฺจติ
อ. ภิกษุ อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมตรัสเรียก ให้ชื่อว่าผู้เข้าไปสงบแล้ว
(สนฺตกาย : 8/79)
9. ภมสฺสุ = ภมตุ จงหมุนไป (สมฺพหุล : 8/72) (ทำตัวอย่างไร ค้นหายังไม่
เจอ)
10. มา ปมาโท (สมฺพหุล : 8/72) (อ. ท่าน ) อย่าประมาทแล้ว เป็นมัธยมบุรุษ
เอกวจนะ
11. วิย แปลว่า ฉันใด (ปญฺจสต : 8/77)
12. อุปมาวิเสสนะในประโยคภาววาจก เช่น ภิกฺขุนา นาม วณฺฏโต มุจฺจนก
ปุปฺเผน วิย วฏฺฏทุกฺขโต มุจฺจิตุํ วายมิตพฺพํ (ปญฺจสต : 8/77) และ ภิกฺขุนา
นาม สนฺตกายตฺเถเรน วิย กายาทีหิ อุปสนฺเตเนว ภวิตพฺพํ (สนฺตกาย : 8/
79)
13. ยสฺมา เป็นกิริยาปรามาส และในประโยคภาววาจกท่านใช้ตติยาวิภัตติเป็น
วิกติกัตตา ในประโยคที่ว่า ยสฺมา ปรสฺส อตฺตภาเว ปติฏฺฐาย กุสลํ วา กตฺวา
สคฺคปรายเนน มคฺคํ วา ภาเวตฺวา สจฺฉิกตผเลน ภวิตุํ น สกฺกา (นงฺคลกูฏ
: 8/82) อันบุคคล ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว ในอัตภาพ ของบุคคลอื่น ไม่อาจ เพื่อ
อันกระทำ ซึ่งกุศลแล้วเป็นผู้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า เป็นหรือ หรือว่า
เพื่ออันยังมรรคใหเ้จริญ แล้วเป็นผู้มีผลอันกระทำให้แจ้งแล้ว เป็น เหตุใด
14. ต ปัจจัย ยืน เดิน นั่ง นอน มาคู่กับกิริยาอื่นที่ทำพร้อมกัน ให้ใส่ หุตฺวา
เข้ามารับ ดังนี้ ทิพฺเพน จกฺขุนา เอกาสเน นิสินฺโน ว (หุตฺวา) หตฺถตเล

ฐปิตอามลกานิ วิย สหสฺสโลกธาตุโย โอโลกนสมตฺโถ หุตฺวา (สุมน : 8/91)
เป็นผู้สามารถในการเป็นผู้นั่งแลดูเทียว เป็น ซึ่งโลกธาตุมีพันหนึ่งเป็นประมาณ
อันราวกะว่าผลมะขามป้อม อันบุคคล วางไว้แล้ว บนพื้นแห่งฝ่ามือ บนอาสนะ
อันเดียว ด้วยจักษุอันเป็นทิพย์ ฯ และให้ดู สา ตตฺถ ฐิตา นจฺจนฺตี (เอรก :
6/95) ประกอบด้วย ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกัน
15. รุชฺชติ เป็นกัมมวาจก เช่นประโยคที่ว่า กึ โว รุชฺชติ (สุมน : 8/93)
อ. อะไร อันโรค ย่อมเสียดแทง แก่ท่าน ท.
16. รุจฺจติ เป็นกัมมวาจก เช่นในประโยคที่ว่า ตุมฺหากเมว โอภาโส รุจฺจติ
(อานนฺท : 8/106) อ. แสงสว่าง ของพระองค์นั่นเทียว อันข้าพระองค์ ย่อม
ชอบใจ
17. สรูปในอิติศัพท์ในประโยคกัตตุวาจก เช่น สาวเก ปพฺพชิตาติ วทติ (อานนฺท
: 8/107) ... ย่อมตรัสเรียก ซึ่งสาวก ท. ว่า อ. บรรพชิต ท. ดังนี้ ฯ นาหํ
เอตฺตเกน ปพฺพชิโตติ วทามิ (อญฺญตรปพฺพชิต : 8/107) อ. เรา ย่อมไป
กล่าว (ซึ่งบุคคล ) ว่า อ. บรรพชิต ดังนี้ ด้วยเหตุอันมีประมาณเท่านั้น ฯ
ในประโยคกัมมวาจก เช่น พาหิตปาโป หิ พฺราหฺมโณ, สมจริยาย สมโณติ
วุจฺจติ (อญฺญตรปพฺพชิต : 8/108) อ. บุคคล ผู้มีบาปอันลอยแล้ว อันเรา
ย่อมเรียก ว่า อ. พราหมณ์ ดังนี้, อ. บุคคล อันเรา ย่อมเรียก ว่า
อ. สมณะ ดังนี้ เพราะเป็นผู้มีความประพฤติเสมอ ... เหตุใด (กิริยาปรามาส)
18. ประโยคธิถุดทุย (หรือพราหมณ์ตีพราหมณ์) ธิ เป็นนิบาต สัมพันธ์ว่า
ครหตฺถโชตก (น่าติเตียน) หรือ นิปาตโชตก (แท้) และเป็นอวุตตการกได้ เช่น
ปุตฺตํ วินา ชีวิตุํ น สกฺขิสฺสามิ (สามาวตี : 2/6) อ. เรา ย่อมไม่อาจ
เพื่ออันเป็นอยู่ เว้น ซึ่งบุตร และในภาค 8 นี้ในพระคาถาว่า ธิ พฺราหมฺณสฺส
หนฺตารํ, ตโต ธิ ยสฺส มุญฺจติ. น พฺราหฺมณสฺเสตทกิญฺจิ เสยฺโย, ยทานิเสโธ
มนโส ปิเยหิ (สารีปุตฺต : 8/110 ) น่าติเตียน (ถุดทุย) ซึ่งพราหมณ์ ผู้ฆ่า
ซึ่งพราหมณ์ (หรือถ้าต้องการแปลให้มีประธานและกิริยาให้ 1. แปลว่า "แท้"
โดยโยค "ครหามิ " เข้ามา 2. ใช้วิธีไขว่า น่าติเตียน คือว่า (ครหามิ) อ. เรา
ย่อมติเตียน ซึ่งพราหมณ์ผู้ฆ่าซึ่งพราหมณ์), อ. พราหมณ์ใด ย่อมปล่อย (ซึ่งเวร
ในเบื้องบน) แห่งพราหมณ์นั้น, น่าติเตียน (ซึ่งพราหมณ์นั้น) (หรือ น่าติเตี

ยน คือว่า (ครหามิ) อ. เรา ย่อมติเตียน ซึ่งพราหมณ์นั้น) (ตโต ปหรนฺตโต
พฺราหฺมณโต) กว่าพราหมณ์ผู้ประหารอยู่นั้น ฯ (อนิเสโธ) อ. การไม่ห้าม ซึ่งใจ
จากอารมณ์ ท. อันเป็นที่รัก ใด (ยํ เป็นกิริยาปรามาส), อ. การไม่ห้ามนั้น
(อกิญฺจิ เสยฺโย = ตัวหน้าเป็นวิเสสนะของตัวหลัง) เป็นคุณชาติไม่ประเสริฐ
อะไรเลย แก่พราหมณ์นั้น ย่อมเป็น หามิได้ (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯลฯ
ตัดบทเป็น "อานิเสโธ" = อ. การมาเกียดกันเสีย, น อกิญฺจิ เป็นลบ ลบ
(- -) ซึ่งเท่ากับบวก (+) ได้แก่เท่ากับ "เป็นคุณชาติประเสริฐอะไร")
19. วิกติกัมมในประโยคกัมมวาจก และเหตุกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมา
วิภัตติ เช่น ตุมฺเหหิ มม ปุตฺโต อตฺตโน จูฬุปฏฺฐาโก กโต (สารปุตฺต : 8/
125) อ. บุตร ของเรา อันท่าน ท. กระทำแล้ว ให้เป็นคนอุปัฏฐากน้อย
ของตน
20. กิมงฺคํ ปน อญฺเญ (สีวลี : 8/152) อ. อะไรเป็นเหตุเหล่า อ. ชน ท. เหล่าอื่น
จักไม่เสวย ซึ่งทุกข์ (ทุกฺขํ น อนุภวิสฺสนฺติ)
21. สัมพันธ์ว่า สรูปในประโยคที่ว่า น กิรตฺถิ เรเสหิ ปาปิโย อาวาเสหิ วา สนฺถเวหิ
วา (คาถาสุนฺทรสมุทฺท : 8/157) ได้ยินว่า อ. รส (หรือ อ. ฉันทราคะ
อันเลวกว่า กว่ารส ท. คือกว่าการอยู่ร่วมกัน ท. หรือ หรือว่าคือกว่าความ
เชยชิด ท. ย่อมไม่มี
22. ตัพพปัจจัยใช้เป็นภาวนาม เป็นตัวประธานได้ เช่น นนุ นาม เอกํ วา เทิว วา
อุจฺฉุยฏฐิโย อาทาย อาคนฺตพฺพํ ภเวยฺย (โชติก : 8/159) อ. อันท่านถือ
เอา ซึ่งลำแห่งอ้อยหนึ่งหรือ หรือว่าซึ่งลำแห่งอ้อย ท. สอง แล้วจึงพึงมา
พึงเป็น ชื่อมิใช่หรือ
23. ยํ กิริยาปรามาส ในประโยคที่ว่า (สา มม สนฺติกํ สมฺมาสมฺพุทฺเธน
อุณฺโหทกสฺสตฺถาย ปหิตตา) ลาภา วต เม, ยํ มม สนฺติกํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
อุณฺโหทกสฺสตฺถาย ปหิณิ (เทวหิต : 8/190) อ. พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรง
ส่งไปแล้ว สู่สำนัก ของข้าพระองค์ เพื่อประโยชน์แก่น้ำอุ่น ใด, อ. ความที่
แห่งพราหมณ์นั้นเป็นผู้อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงส่งไปแล้ว สู่สำนัก ของข้า
พระองค์ เพื่อประโยชน์แก่น้ำอุ่นนั้น เป็นลาภหนอ แห่งข้าพระองค์ ย่อมเป็น

24. วิเสสลาภี ในประโยคว่า อรหตฺตมคฺคญฺญาณํ พฺรหฺมจริยวาสํ (เทวหิต : 8/
191) อยู่ด้วยสามารถแห่งพรหมจรรย์ คืออรหัตตมรรคญาณ
ข้อควรจำไม่ตั้งอรรถภาค 8
1. ลตาติ: (วิคฺคโห กาตพฺโพ ฯ) ปลิเวฐนตฺเถน สํสิพพนตฺเถน จ ลตา วิยาติ
ลตา (สูกรโปติกา : 8/11) อ. วิเคราะห์ ในบทว่า ลตา ดังนี้ อันบัณฑิต
พึงกระทำ ฯ อ. ตัณหาใด อันราวกะว่าเถาวัลย์ เพราะอรรถว่าเป็นเครื่อง
พัวพันด้วย เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องรึงรัดด้วย เพราะเหตุนั้น อ. ตัณหานั้น
ชื่อว่า ลตา ๆ อ. ตัรหาอันราวกะว่าเถาวัลย์
2. เมื่อมีคำถาม และคำตอบ ให้ยืมบาลีในคาถามาแปล และบทตั้งต่อไป ให้ตั้ง
อตฺโถ อ. อธิบาย (ว่า ... ดังนี้) อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ
3. ลพฺภติ (ปญฺจภิกฺขุ : 8/50) อันบัณฑิต ย่อมได้
4. ปทํ สนฺตนฺติ: นิพฺพานสฺเสตํ (8/73) อ. คำว่า ปทํ สนฺตํ ดังนี้นั่น เป็นชื่อ
ของพระนิพพาน
5. กถิตํ, กถิตา (สมฺพหุ : 8/76) เป็นกัมมวาจก
6. พฺราหฺมณาติ : ขีณาสวานํ อาลปนเมตํ (ปสาทพหุล : 8/102) อ. คำว่า
พฺราหมฺณา ดังนี้นัน เป็นคำร้องเรียก ซึ่งพระขีณาสพ ท.
7. ตัดบท ตมหนฺติ: ตํ อหํ (อุคฺคเสน : 8/121) ให้เดิม ปทจฺเฉโท อ. การตัด
ซึ่งบท ว่า ตํ อหํ ดังนี้ แห่งบทว่า ตมหนฺติ: ดังนี้ อันบัณฑิต พึงกระทำ ฯ
เหตุผลเพราะ ตํ อหํ มีซ้ำกับข้อความต่อไป ซึ่งจะต้องตั้งบทอธิบาย
8. ตสฺสตฺโถ "...." อตฺโถ ฯ อ. อธิบาย (ว่า... ดังนี้) เป็นเนื้อความแห่งคำอัน
เป็นพระคาถานั้น ปรากฏในเรื่องอญฺญตร (8/143), เรื่องสีวลี (8/152 -
3) และสุนฺทรสมุทฺท (8/157)

ตัวอย่างวาจกที่ต้องสำเหนียกให้ดี (บางส่วนเท่านั้น)
ภาววาจก
อภิกฺกมิตพฺพํ (โลฬุทายี : 5/112), ปฏิกฺกมิตพฺพํ (โลฬุทายี : 5/112),
นาถนฺตพฺพํ (โพธิราช : 6/2), ลทฺธพฺพํ (อุปนนฺท : 6/6), จริตํ (อุปนันท : 6/7 -
8), มริตพฺพํ (เปสการธีตา : 6/39)
จงฺกมิตพฺพํ (ปธานิก : 6/10)
วายมิตพฺพํ (ยมก : 8/77)
ภวิตพฺพํ (กุมารกสฺสป : 6/13), (อตฺตทตฺถ : 6/26), (ยมก : 8/79)
น สลฺลกฺเขตพฺพํ (ยมก : 6/82)
หสิตํ 6/
คนฺตพฺพํ (วกฺกลิ : 8/84)
ปพฺพชิตพฺพํ (สุมน : 8/90)
เหตุกัมมวาจก
อุปฏฺฐาปิตํ (ลาชเทวธีตา : 5/8)
ปติฏฺฐาเปตพฺโพ (อุปนนฺท : 6/8)
นาสิตา (กุมารกสฺสป : 6/14), นาสิโต (จุลฺลกาล : 6/24)
ภาเวตพฺพา (เปสการธีตา : 6/39), อภาวิตํ (เปสการธีตา : 6/39), ภาวิตา (6/
40), สุภาวิตา (ตึสภิกฺขุ : 6/45)
หาเปตพฺพํ (อตฺตทตฺถ : 6/26)
อุปฺปาทิตา (สุทฺโธทน : 6/31)
อธิวาสิตํ (มารธีตา : 6/62)
ปวตฺติโต (สุมน : 8/87)
ปราชิโต (สุมน : 8/88)
กสาเปตพฺพํ (สุมน : 8/91)
วิโสธิตํ (สุมน : 8/91)

ลชฺชาปิโต (สุมน : 8/98)
สญฺญตฺโต (อกฺโกสก : 8/124) ให้รู้พร้อมแล้ว
ปาปิตํ (ปพฺภารวาสี : 8/132)
ปาติตา (มหาปนฺถก : 8/140)
วิสฺสชฺชาปิโต (สุนฺทรสมุทฺท : 8/157)
การิตา (โชติก : 8/162)
กัมมวาจก
ลพฺภติ อันสัตว์ ย่อมได้ (จนฺทากภ : 6/99)
ปจฺจติ อันบุคคล หุงอยู่ (เอรก : 8/148)

ประโยคควรดูพิเศษ

ชั้นประโยค 1-2
วิชา แปลมคธเป็นไทย
ลำดับ เรื่อง เริ่ม จบ หน้า
ภาค 1
1 จฺกขุปาลตฺเถร พุทฺธา จ นาม ** ปุนปฺปุนํ ยาจิ 5-9
2 """" อิตฺถีสทฺโท วิย** อิมา คาถา อภาสิ 14-15
3 มฏฺฐกุณฺฑลิ สาวตฺถิยํ กิร เคหทิวารํ คโต 23-25
4 ติสฺสตฺเถร อตีเต พาราณสิยํ อกริตฺถ อาจริยาติ 37-28
5 โกสมฺพิกภิกฺขุ โกสมฺพิยํ หิ** โกลาหลํ อคมาสิ 49-50
6 """" ตถาคตสฺส ตตฺถ** เอกมนฺตํ นิสีทึสุ 55-56
7 จุลฺลกาลมหากาล ตสฺมึ อรหตฺเต สตฺถารํ นิมนฺตยึสุ 65-66
8 สญฺชย อนุปฺปนฺเน หิ สนฺติเก ปพฺพชามาติ 80-81
9 เทวทตฺต โส ลาภสกฺการาภิภูโต กเถสิ 130-125
10 """" เทวทตฺตสฺส** น ทิฏฺฐปุพฺพาติ 124-125
ภาค 2
1 สามาวตี ติรจฺฉานา** เคหํ เนสิ 12-13
2 """" ตํ สุตฺวา สามีติ อาห 22-23
3 """" สา ทานคฺเค** เชฏฺฐธีตุฏฺฐาเน ฐเปสิ 29-30
4 """" รญฺโญ ปน** ภาคี โหมีติ อาห 34-37
5 """" อปรา ปน** อิมํ คาถมาห 38-40
6 """" พุทฺโธติ วจนํ วิย อเหสุํ 44-45
7 """" ตา เอกทิวสํ กาลกตา 55-58
8 กุมฺภโฆสก สา กติปจฺจเยน** อิมํ คาถมาห 70-73
9 อญฺญตรภิกฺขุ โกสลรญฺโญ กิร สสฺสํ อุคฺคณฺหาเปสุํ 118-121
10 โสเรยฺยเถร สมฺมาสมฺพุทเธ ปาตุรโหสิ 152-156
ภาค 3
1 วิฑูฑภะ อเถกทิวสํ ราชา** นาลํ อุปนิสีทิตุํ 6-8
2 ฉตฺตปาณิ สาวตฺถิยํ หิ** จิตฺตํ มุทุกํ ชาตํ 4-42